ผลลัพธ์การเรียนรู้

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน.pdf

เชิงปริมาณ

ภายหลังได้รับแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็นชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่ 5 ก่อนเรียน

ตารางที่ 1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์.pdf

เชิงปริมาณ

2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 ร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 65 ของคะแนนเต็ม)

ตาราง2 ร้อยละ.pdf

เชิงปริมาณ

3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5


ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น อยู่ในระดับมากที่สุด  (x = 4.66, S.D. =0.50)



ความพึงพอใจ.pdf

เชิงคุณภาพ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 มีทักษะทางคณิตศาสตร์สูงขึ้น


ผลการประเมิน นักเรียนทั้งหมด 38 คน

ได้ระดับดี 32  คน คิดเป็นร้อยละ 84.21

ได้ระดับพอใช้  6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.79

แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ ด้านทักษะ.pdf

เชิงคุณภาพ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ความน่าจะเป็นสูงขึ้น


ตารางค่าเฉลี่ย.pdf

เชิงคุณภาพ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 มีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์


จากตาราง แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์  โดยเฉลี่ยจากแบบสอบถามทั้งหมดได้ 4.37 คะแนน


ตาราง 6 แสดงผลการวิเคราะห์แบบสอบถามวัดเจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์.pdf

นอกจากนี้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ผู้รายงานพัฒนาขึ้นมี ประสิทธิภาพ เท่ากับ  81.99/85.07 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 75/75

ตารางค่าเฉลี่ย.รวม.pdf

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง  ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 

ตารางนัยสำคัญ.pdf